ปัญหาการเพาะเห็ดนางฟ้า
ไรไข่ปลา จะกัดกินเส้นใยเห็ด และมีการแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว
วงจรชีวิตไรไข่ปลา
ไรไข่ปลา มีวงจรชีวิต 9 วัน และมีลูกเฉลี่ย 236 ตัว/แม่ จึงทำให้ขยาย ,ศุภนิตย์ หิรัญประดิษฐ์,การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ กรมวิชาการเกษตร
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการแพร่กระจาย
- สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงบ่อยๆ ส่งผลต่อการเกิดไรไข่ปลา ได้เป็นอย่างมาก เช่น อากาศร้อน สลับหนาว (ฝนตกตอนกลางคือ และกลางวันแดดร้อนจัด หรือ กลางคืนอากาศเย็น กลางวันอากาศร้อนจัด เป็นต้น )
การดูแลเบื้องต้น
- หมั่นสังเกตุก้อนเชื้อเห็อย่างสม่ำเสมอ เพื่อตรวจหากลุ่มไข่ หรือตัวไร
- ราดน้ำที่พื้นโรงเรือน และระบายอากาศในโรงเรือนในช่วงที่มีอากาศร้อน (กลางวัน)
- คัดแยกก้อนที่เกิดไรออกจากโรงเรือนเพื่อป้องกันการระบาดไปยังก้อนอื่นๆ
- ควรมีการพักโรงเรือนและทำความสะอาดโรงเรือนก่อน เพาะเห็ดในรุ่นต่อๆ ไป
- หลีกเลี่ยงการเพาะเห็ดชนิดเดียวซ้ำๆ อยู่ตลอดเวลาเพราะจะเป็นการสะสมแหล่งอาหารให้กับไร
การกำจัด
- ใช้จุลินทรีย์ในการป้องกันกำจัดไรปัจจุบันที่มีใช้กันอย่างแพร่หลายคือ จุลินทรีย์ไมโตฝาจ
- ไม่ควรใช้สารเคมี เนื่องจากจะเป็นอันตรายกับผู้ใช้และผู้บริโภค อีกทั้งสารเคมีบางตัวอาจจะทำใ้ห้เกิดผละกระทบกับเส้นใยเห็ดได้
- นำก้อนเชื้อเก่าไปกำจัดหรือเผาทำลาย โดยกรีดก้อนให้แห้งสนิทโดยเร็ว
ที่มา: ศุภนิตย์ หิรัญประดิษฐ์,การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ กรมวิชาการเกษตร
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
คุณสุพจน์ 082-711-9399 E- mail: Sup.hot@hotmail.com
ชื่อบัญชี สุพจน์ แวงภูลา
ธนาคารกรุงไทย สาขาศรีราชา บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 208-1-95042-1
|
ปัญหาการเพาะเห็ดนางฟ้าภูฏานดำ,เห็ด,ปัญหาการเพาะเห็ด,
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น