สมุนไพร หญ้ารีแพร์
(หญ้าฮี๋ยุ่ม)
ชื่อสมุนไพร : หญ้าฮี๋ยุ่ม
ชื่ออื่น : หญ้าหมอยแม่หม้าย ขนหมอยแม่ม่าย (สตูล) หญ้าเหล็กไผ่ (สุราษฎร์ธานี) หญ้าอีเหนียว (ชัยนาท) เหนียวหมา (ระนอง)
ชื่อวงศ์ : Poaceae
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Centotheca Lappacea (L) Desv.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : หญ้าฮี๋ยุ่ม เป็นพืชมีอายุหลายปี
- ลำต้นหญ้าฮี๋ยุ่ม ลำต้นสูง 50-70 เซนติเมตร
- ใบหญ้าฮี๋ยุ่ม ใบมีขนาดกว้าง 1.5 - 2.5 เซนติเมตร ยาว 6.5 - 15.0 เซนติเมตร ตามลำต้น กาบใบ และตัวใบจะเห็นเส้นใบลายเป็นทางยาวชัดเจน ใบมีขน ขอบใบเรียบ บางครั้งมีคลื่นเล็กๆ ทั้งสองด้าน ลิ้นใบ (ligule) เป็นแผ่นบางๆ สีน้ำตาล (membranous) สูง 2-3 มิลลิเมตร
- ช่อดอกหญ้าฮี๋ยุ่ม ช่อดอกแบบ panicle ยาว 15 - 43 เซนติเมตร ช่อดอกย่อย (spikelets) มี 2-3 ดอก
- ดอกหญ้าฮี๋ยุ่ม ดอกมีสีเขียว ยาวประมาณ 8 มิลลิเมตร ก้านสั้นๆ ที่กาบดอกด้านล่าง หรือท่อนพันธุ์
ชื่ออื่น : หญ้าหมอยแม่หม้าย ขนหมอยแม่ม่าย (สตูล) หญ้าเหล็กไผ่ (สุราษฎร์ธานี) หญ้าอีเหนียว (ชัยนาท) เหนียวหมา (ระนอง)
ชื่อวงศ์ : Poaceae
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Centotheca Lappacea (L) Desv.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : หญ้าฮี๋ยุ่ม เป็นพืชมีอายุหลายปี
- ลำต้นหญ้าฮี๋ยุ่ม ลำต้นสูง 50-70 เซนติเมตร
- ใบหญ้าฮี๋ยุ่ม ใบมีขนาดกว้าง 1.5 - 2.5 เซนติเมตร ยาว 6.5 - 15.0 เซนติเมตร ตามลำต้น กาบใบ และตัวใบจะเห็นเส้นใบลายเป็นทางยาวชัดเจน ใบมีขน ขอบใบเรียบ บางครั้งมีคลื่นเล็กๆ ทั้งสองด้าน ลิ้นใบ (ligule) เป็นแผ่นบางๆ สีน้ำตาล (membranous) สูง 2-3 มิลลิเมตร
- ช่อดอกหญ้าฮี๋ยุ่ม ช่อดอกแบบ panicle ยาว 15 - 43 เซนติเมตร ช่อดอกย่อย (spikelets) มี 2-3 ดอก
- ดอกหญ้าฮี๋ยุ่ม ดอกมีสีเขียว ยาวประมาณ 8 มิลลิเมตร ก้านสั้นๆ ที่กาบดอกด้านล่าง หรือท่อนพันธุ์
เข้าถึงได้จาก http://www.bookmuey.com
การขยายพันธุ์
การขยายพันธุ์
หญ้าฮี๋ยุ่ม ขยายพันธุ์โดยการ แยกหน่อ ตัดชำ ลงใน ขุยมะพร้าว ผสมกับหน้าดิน
เพื่อให้เกิดความชุ่มชื่น และหลังจากชำแล้วควรอยู่ในที่ร่มรำไร
ดูแลรดน้ำอย่างสม่ำเสมอ ควรดูแลอย่าให้ชื้นมากเกินไปอาจจะทำให้เกิดเชื้อราได้
ประโยชน์ หญ้าฮี๋ยุ่ม หรือหญ้ารีแพร์
ใช้ได้ทั้งการกินและใช้ภายนอก
วิธีการกิน สามารถนำยอดหญ้าฮี๋ยุ่มมาลวกจิ้มน้ำพริก
นำใบมาขยี้กับน้ำร้อน หรือต้มแล้วคั้นแต่น้ำดื่ม มีฤทธิ์ช่วยขับปัสสาวะ
ช่วยสมานแผล ทำให้ผิวพรรณกักเก็บน้ำได้ดีขึ้น ผิวพรรณชุ่มชื่นเปล่งปลั่งเต่งตึง
สำหรับการน้ำหญ้าฮี๋ยุ่ม(หญ้ารีแพร์)
ไปต้มดื่มหรือทำเป็นชา สามารถช่วยบำรุงร่างกายและข้อเอ็นเลือดลมไหลเวียนดี
ลดการอักเสบและชุ่มชื่นคอ
การใช้ภายนอก
การนำต้นมาขยี้แล้วโป๊ะแผล ทำให้แผลหายไว ต้มน้ำอาบ การใช้โดยวิธีรมควันเฉพาะจุด เหมาะสำหรับสตรีหลังคลอด
โดยใช้หญ้าฮี๋ยุ่มตากแห้งมาก่อไฟ เพื่อไม่ให้ความร้อนมากเกินไปควรใช้ไม้ผุเป็นเชื้อไฟ
พอให้ไฟคุนิดๆ แล้วนั่งเอาไอรม รมควันหญ้าฮี๋ยุ่มนี้นานครั้งละ
10 – 15 นาที ทำเช้าเย็นเป็นเวลา 7 –
10 วัน สามารถช่วยให้มดลูกเข้าอู่ ลดอาการบวมจากความร้อนได้ ช่วยลดน้ำหนัก หญิงหลังคลอดที่มีอาการหย่อนยานและบวม
จึงทำได้ผลดี ควันที่ได้จากการเผาไหม้หญ้าฮี๋ยุ่มมีส่วนประกอบของซิลิกา
มีคุณสมบัติช่วยเรื่องการสมานแผล เสริมสร้างเนื้อเยื่อทำให้แผลหายไวไม่ติดเชื้อ
ส่วนผู้หญิงทั่วไปที่ต้องการกระชับช่องคลอด
ให้ทำในลักษณะอบไอน้ำ คือนำหญ้าฮี๋ยุ่มไปต้ม แล้วนั่งรมด้วยไอน้ำ
สำหรับผู้ชายก็สามารถใช้ประโยชน์จากหญ้าฮี๋ยุ่มได้เช่นกัน
ทั้งช่วยบำรุงผิวให้ชุ่มชื้น ใช้ในการรักษาแผล และสามารถอบไอน้ำเพื่อบรรเทาอาการริดสีดวงได้
การค้นพบภูมิปัญญาที่มีมาตั้งแต่ปู่ ย่า ตา ยาย แล้วนำกลับมาใช้หรือพัฒนาต่อยอดให้เข้ากับยุคสมัยเป็นเรืองที่ดี อนาคตประเทศไทยจะสามารถพึ่งพาตนเองได้ แต่ทรัพยากรใช้แล้วมีโอกาสหมดไป ทำอย่างไรใช้อย่างยั่งยืน
เรากำลังเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
และจึงอยากให้คนไทยทุกคนช่วยกันรักษาทรัพยากรอื่นๆ ด้วย โดยการบันทึกให้มีเป็นหลักฐานว่าต้นไม้ชนิดนี้
ภูมิปัญญานี้ เป็นของเราคนไทย ทำที่ใกล้ๆ ตัวเราก่อน
เพื่อวันข้างหน้าไม่แน่ว่าทรัพยากรเป็นของเรา แต่ใครก็ไม่รู้ที่มาจากบ้านอื่นเมืองอื่นเราต้องซื้อเขาตลอดเวลา
เหมือนสมุนไพรบางตัว การค้นพบภูมิปัญญาที่มีมาตั้งแต่ปู่ ย่า ตา ยาย แล้วนำกลับมาใช้หรือพัฒนาต่อยอดให้เข้ากับยุคสมัยเป็นเรืองที่ดี อนาคตประเทศไทยจะสามารถพึ่งพาตนเองได้ แต่ทรัพยากรใช้แล้วมีโอกาสหมดไป ทำอย่างไรใช้อย่างยั่งยืน
คุณสุพจน์ 082-711-9399
E- mail: Sup.hot@hotmail.com
ทางไลน์ครับ waengphula
ชื่อบัญชี สุพจน์ แวงภูลา ธนาคารกรุงไทย สาขาศรีราชา 2081950421
การใช้จุลินทรีย์ทางการเกษตรที่น่าสนใจ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น